วันพุธที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 11

การเขียนโปรแกรมสร้างชื่อ

#include
#include
main()
{
clrscr();
gotoxy(25,5);printf("My name is Prapussorn Taomsomboon");
gotoxy(25,6);printf(" Number 3 ");
getch();
return 0;
}

สัปดาห์ที่ 10

-ได้ทดลองใช้โปรแกรมในการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า
-ไดทดลองใช้โปรแกรมต่างในแบบฝึกหัด
-บันทึกการทดลองเขียนโปรแกรมสร้างชื่อให้เลื่อนขึ้นลงในสมุด

สัปดาห์ที่9

-ได้ทดลองใช้โปรแกรมสร้างชื่อให้ขึ้นและลงทีละตัว
-ได้แก้ไขปรับปรุงแผนผังที่ทำไว้ให้ถูกต้องและสวยงาม
-สอบเดี่ยวการใช้โปรแกรมสร้างชื่อให้เลื่อนขึ้น

วันพุธที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ทักทาย๓ษาต่างๆ
1. ภาษา เวียดนาม

สวัสดี Xin chao ซินจ่าว

ขอบคุณ Com on ก่าม เอิน

ขอโทษ Xin loi ซินโหลย

กรุณา Xin moi ซินเหม่ย

ลาก่อน Tam biet ตาม เบียด

2.ภาษา ตากาลอก



สวัสดี Kumusta กูมุสตา

ขอบคุณ Salamat ซาลามัต

ขอโทษ Paumanhin ปะ อุมันฮิน

กรุณา Pakisuyo ปากีซูโย่

ลาก่อน Paalam ปาอาลัม

3.ภาษา สเปน



สวัสดี Hola โอล่า

ขอบคุณ Gracias กราเซียส

ขอโทษ Lo siento โล เซียนโต

กรุณา Por favor ปอร์ ฟาบอร์

ลาก่อน Adios อาดิโอส

4.ภาษา เยอรมัน



สวัสดี Hallo ฮาโหล

ขอบคุณ Danke ดังเคอะ

ขอโทษ Entschuldigung เอน ชู้ตด ิ กุ้ง

กรุณา Bitte บิต เทอะ

ลาก่อน Schuss ชู้ส

5.ภาษาอิตาเลียน



สวัสดี Buon giorno บวน จอรโน

ขอบคุณ Grazie กราท ซีเย

ขอโทษ Mi dispiace มิ ดิสเปียอา เช่

กรุณา Per favore แปร ฟา วอ เร

ลาก่อน Ciao เชา

6.ภาษาจีน



สวัสดี Ni hao หนีห่าว

ขอบคุณ Xie xie เซียเซี้ย

ขอโทษ Dui bu qi ตุ้ย ปู้ ฉี่

กรุณา Qing ฉิง

ลาก่อน Zai jian ไจ้เจี้ยน

7.ภาษาภาษาฝรั่งเศส



สวัสดี Bonjour บง ชูร์

ขอบคุณ Merci แม้ค ซี่

ขอโทษ Pardon ปาร์ค ดอง

กรุณา S'll vous plait ซิล วู เปล

ลาก่อน Au revoir โอ เครอะ วัว

8.ภาษาญี่ปุ่น



สวัสดีตอนเช้า Ohayou gosaimasu โอะไฮโย โกไซมัส

ขอบคุณ Arigatou gozaimashita อาริงาโตะ โกไซมัส

ขอโทษ Gomen nasai โกะเมน นะไซ

กรุณา Douzo โด โชะ

ลาก่อน Sayonara ซาโยนาระ

9.ภาษาดัตช์



สวัสดี Goedendag คูเดิ้นด๊าค

ขอบคุณ Dan ku wel ดั้ง กู เวล

ขอโทษ Pardon ปาร์ดอง

กรุณา Ais tu blieft อัลส์ตูบลีฟท์

ลาก่อน Tot ziens ต๊อทซีนส์

10.ภาษามาเลย์



สวัสดี Salamat Datang ซาลามัต ดาตัง

ขอบคุณ Terima kasih เทริมา กาสิ

ขอโทษ Maaf อาอาฟ

กรุณา Sila ซิลา

ลาก่อน Salamat jalan

ภาษาคอมพิวเตอร์และความเหมาะสมในการใช้งานของแต่ละภาษา



+BASIC (Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code) สำหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์

+COBOL (Common Business Oriented Language) นิยมใช้ในงานธุรกิจบนเครื่องขนาดใหญ่

+FORTRAN (FORmula TRANslator) ใช้สำหรับงานด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์

+Pascal (ชื่อของ Blaise Pascal) ใช้ในวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย

+C สำหรับนักเขียนโปรแกรม และใช้ในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

+C++ สำหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์

+ALGOL (ALGOrithmic Language) เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้เป็นภาษาสำหรับงานทางวิทยาศาสตร์ และต่อมามีการพัฒนาต่อเป็นภาษา PL/I และ Pascal

+APL (A Programming Language) ออกแบบโดยบริษัท IBM ในปีค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะสำหรับจัดการกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กันในรูปแบบตาราง

+LISP (LIST Processing) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับข้อมูลที่ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัวอักษรก็ได้ นิยมใช้ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artifical Inelligence)

+LOGO นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะการแก้ปัญหาให้กับนักเรียน

+PL/I (Programming Language One) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ

+PROLOG (PROgramming LOGIC) นิยมใช้มากในงานด้านปัญญาประดิษฐ์ จัดเป็นภาษาธรรมชาติภาษาหนึ่ง

+RPG (Report Program Generator) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติในการสร้างโปรแกรมสำหรับพิมพ์รายงาน

วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 7

วันนี้ได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ

-การวิเคราะห์โจทย์

-การเขียนแผนผัง

วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 6


วันนี้ได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษาซี

และได้สอบเขียนโปรแกรมดังนี้

#include
#include
main()
{
s....รัยอ่ะคัยรู้ช่วยตอบที
gotoxy(25,5);printf("Prapussorn Taomsomboon");
gotoxy(25,6);printf(" Tc**3 No.3 ");
getch():
return 0;
}

วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 5

1.สอบก่อนเรียนบทที่ 3
2.เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาซี
3.เรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี

วันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 4

-ได้วิเคราะห์โจทย์ในใบงาน
-เสริมทักษะกระบวนการคิด การอ่าน
-เนื้อหาการเรียนบทที่ 2 เกี่ยวกับการเขียนผังงาน
สัปดาห์ที่3


-สอบหลังเรียนของบทที่1
-สอบก่อนเรียนของบทที่2
-สอนการทำบล๊อกเพิ่มเติม
-เรียนเนื้อหาในบทที่2

วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552

MINT

01001101 01001001 01001110 01110010


Prapussorn Taomsomboon



01010000 01110010 01100001 01110000 01110101 01110011 01110011 01101111 01110010 01101110 01010100 01100001 01101111 01101101 01110011 01101111 01101101 01100010 01101111 01101111 01101110

วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 2
วันพุธที่ 21 ตุลาคม 2552


เทคโนโลยี3Gคือ?

3G (สามจี หรือ ทรีจี)เป็นมาตรฐานโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาและกำลังมาแทนที่ ระบบโทรศัพท์ 2G ซึ่ง 3G นั้นพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน International Mobile Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของ International Telecommunication Union (ITU)3G หรือที่เรียกว่า ระบบ UMTS หรือ WCDMA ในระบบ GSM 850 , 900 , 1800 , 1900 และ 2100 (ที่เป็นสากลที่โทรศัพท์ระบบ 3G ต้องมี)
3Gนั้น ได้พัฒนามาจาก GPRS และ EDGE ตอนนี้ได้มีในเมืองไทยแล้ว แต่ในของระบบ AIS นั้นจะทำ HSDPA หรือ 3.5G (ระบบ 3G มีใช้เฉพาะที่จังหวัด เชียงใหม่ และ กทม.) โดยขณะนี้ มีแค่ AIS และ ทรูมูฟ เท่านั้นที่ให้บริการ
3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า• “ต้องมี แพลทฟอร์ม(Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้• “ความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming)” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง• “บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service)” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน เซลล์ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คำว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บนะครับ• อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ในมาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำหนดไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็ว> มากกว่า 144 กิโลบิต/วินาที ในทุกสภาวะ > ถึง 2 เมกกะบิต/วินาที ในสภาวะกึ่งเคลื่อนที่ > สูงถึง 384 กิโลบิต/วินาที ในสภาวะเคลื่อนที่.....


ประเทศอาเซียนมี10ประเทศได้แก่

1.ประเทศอินโดเนเซีย
2.ประเทศฟิลิปปินส์
3.ประเทศมาเลเซีย
4.ประเทศสิงคโปร์
5.ประเทศไทย
6.ประเทศบรูไน
7.ประเทศพม่า
8.ประเทศลาว
9.ประเทศเวียดนาม
10.ประเทศกัมพูชา



วันพุธที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2552

วันที่ 14/10/2552

วันนี้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้การสร้างBloggerของตัวเอง และมีGmailของตัวเองแล้วค่ะ
วันนี้ได้สอบก่อนเรียนในวิชาไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์2ซึ่งเป็นอะไรที่ยากเหลือเกิน
ซึ่งอาจารย์จันทร์เพ็ญเป็นผู้สอนและท่านได้บอกก่อนสอบว่าให้อ่านคำถามให้หมดทุกข้อ
ข้าพเจ้าก็อ่านหมดทุกข้อจริงๆแต่บอกตรงๆเลยว่าไม่ได้รู้เรื่องอะไรเลย งงงงงงงงง มากมายอ่ะ
และก่อนเรียนอาจารย์จันทร์เพ็ญได้ตรวจสภาพนักเรียนด้วยยอมรับเลยว่าอาจารย์เคร่งจริงๆ
ตรวจทุกกระเบียดนิ้วอ่ะ



IQ
การพัฒนาให้ผู้เรียน ทักษะกระบวนความคึด กระบวนการเรียนรู้ มีความเฉลียวฉลาดขึ้น และใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง


EQ
การพัฒนาให้ผู้เรียนรู้จักตนเองและมีความมั่นคงทางอารมณ์


AQ
การพัฒนาทักษะในการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อนและการเผชิญสถานการณ์ที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลง และทำงานภายใต้สภาวะความกดดันได้ดี
*เหตุการณืที่ไม่เคยพบมาก่อนและสามารถปรับตัวได้ทัน
*การแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้า


TQ
การพัฒนาความคล่องแคล่วในการใชเทคโนโลยี และการรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆให้เหมาะสมกับความต้องการ


MQ
คุณธรรมหรือความดี ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้ผู้เรียนมีจิตใจงดงามรู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีและอยู่ในสังคมความรู้ได้อย่างมีความสุข

วันอังคารที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ส.1

http://www.tcprapussorn@gmail.com/
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เชน ภาษาซี ภาษาปาสคาล ภาษา เบสิก และการประยุกต์ใช้ในงานโทรคมนาคม

จุดประสงค์รายวิชา
1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง 2.เพื่อให้มีความสามารถเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์3.เพื่อให้มีกิจนสัยในการทํางานด้วยความเปนระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบและปลอดภัย

มาตรฐานรายวิชา
1. เข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาโครงสร้าง 2. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโครงสร้าง 3. ประยุกต์ใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานอาชีพ สมรรถนะงานอาชีพ (อาชีพที่ทำได้จากการเรียนรายวิชานี้ระบุเพียง 1 อาชีพ)- โปรแกรมเมอร์

การวัดผลและประเมินผล
วัดผลตามเกณฑ์มาตรฐานของวิทยาลัย โดยมีการวัดผลและประเมินผลดังนี้ การวัดผล(100%)1. พิจารณาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 20 %2. พิจารณาจากใบงาน 20 %3. พิจารณาจากกิจนิสัย ความสนใจ ,ความรับผิดชอบ และการเข้าร่วมกิจกรรม 20 %4. การสอบภาคทฤษฎีและการสอบปฏิบัติ 40 %

หน่วยการสอน
สัปดาห์ที่ หน่วยการสอน ชื่อหน่วยการสอน 1-2 1 การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์3-4 2 การเขียนผังงานุ6-7 3 ความรู้เบื้องต้นของภาษา C และ Turbo C++8-9 4 องค์ประกอบของภาษา C10-12 5 คำสั่งรับ/แสดงผลข้อมูล และการหมายเหตุโปรแกรมในโปรแกรมภาษา C 13-16 6 คำสั่งควบคุมโปรแกรม17-18 - ทบทวนเนื้อหา ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ

mint Ja ! ! !

mint Ja ! ! !

ผู้ติดตาม